ประกัน สังคม ว่างงาน

ลูกจ้างที่เป็นผู้ประกันตน กรณีตกงานจาก ลาออก ถูกเลิกจาก มีอะไรบ้าง พร้อมขั้นตอนการยื่นขอรับสิทธิประโยชน์ ในช่วงนี้มีข่าว เลเอาท์ พนักงานออกอยู่เรื่อยๆ เพื่อเป็นการที่จะไม่เสียสิทธิ์ ประกัน สังคม ว่างงาน ในการที่เราจ่ายประกันสังคมมาทุกเดือน เรามาทราบถึงสิทธิประโยชน์ที่เราจะได้รับเมื่อเราอยู่ในช่วงว่างงานกันดีกว่าค่ะ

นอกจากเงินชดเชยที่ทางบริษัทจำเป็นต้องจ่ายให้กับพนักงานแล้วนั้น ประกัน สังคม ว่างงาน ยังมีสิทธิได้รับเงินชดเชยกรณีว่างงานจากสำนักงานประกันสังคม  เมื่อผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน ประกัน สังคม ว่างงาน มีข้อกำหนดว่า ต้องไปขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำนักงานเขต หรือ ในเว็บไซต์ ภายใน 30 วัน หากไม่สะดวกสามารถยื่นออนไลน์ได้ แต่ก็ยังต้องไปยื่นเอกสารที่กรมจัดหางานตามเขตพื้นที่ของตน เพื่อเป็นการแสดงสิทธิ์ในเบื้องต้น , ต้องรายงานต่อเจ้าหน้าที่สำนักจัดหางานไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง, พร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมตามที่จัดหาให้  เอกสารที่จะต้องนำไปเพื่อขอรับประโยชน์จากประกันสังคม มีแบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน, บัตรประจำตัวประชาชน, รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว, สำเนาสมุดบัญชีเงินฝาก

ประกัน สังคม ว่างงาน ในกรณีที่ถูกเลิกจ้าง มีค่าตอบแทนที่ต่างกัน เงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยคำนวณจากฐานเงินสมทบขั้นต่ำเดือนละ 1,650 บาท และฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท หรือ กรณีลาออกเอง ได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้างเฉลี่ย

กรณียื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทน ประกัน สังคม ว่างงาน กรณีว่างงานเพราะเหตุถูกเลิกจ้าง หรือเหตุถูกเลิกจ้างและลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้างเกินกว่า 1 ครั้ง ภายใน 1 ปีปฏิทิน ให้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนทุกครั้ง  เมื่อคุณสมบัติครบถ้วน สำนักงานประกันสังคมทำการโอนเงินทดแทนการขาดรายได้ตามสิทธิให้ผู้ประกันตน ผ่านทางบัญชีธนาคารของผู้ประกันตน เดือนละ 1 ครั้ง

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม โทรสายด่วน 1694 ในวันและเวลาราชการ 08.30-16.30 น.

ประกันสังคม

ประกันสังคม เป็นหนึ่งในการสร้างหลักประกัน ในด้านการดำรงชีวิตในกลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้และต้องจ่ายเงิน สมทบเข้ากับกองทุนประกันสังคม  เพื่อที่จะรับผิดชอบในการเฉลี่ยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย  คลอดบุตร  ทุพพลภาพ  ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพและว่างงาน เพื่อให้ได้รับการรักษาพยาบาลและมีรายได้อย่างต่อเนื่อง ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533

ผู้ประกันตน จำเป็นต้องเป็นลูกจ้างที่มีอายุมากกว่า  15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ ในวันเข้าทำงาน  และทำงานอยู่ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป  เงินสมทบ คือ เงินที่นายจ้าง ลูกจ้างจะต้องนำส่งเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน  โดยคำนวณจากค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับ  ซึ่งกำหนดจากฐานค่าจ้างเป็นรายเดือนต่ำสุดเดือนละ 1,650 บาท  สูงสุดเดือนละ 15,000 บาท โดยมีรายจ่ายมากที่สุดไม่เกิน 750 บาท/เดือน ทั้งนี้รัฐบาลจะออกเงินสมทบเข้ากองทุนอีกส่วนหนึ่ง

สำหรับใครที่จ่ายมาแล้ว หลายเดือน หลายปี แต่ก็ยังไม่รู้ว่า เงินที่ถูกหักไปนั้น มีจำนวนเงินท่าไหร่แล้ว แล้วเมื่อไรที่จะได้คืน ถ้าจะได้เงินคืน ต้องได้คืนประมาณเท่าไหร่ สามารถเช็คข้อมูล เพื่อตรวจสอบ เงินประกันสังคม แบบออนไลน์ โดยเข้าเว็บไซต์ของสำนักงานประกันสังคม http://www.sso.go.th แล้วเลือกจ้อมูลการส่งเงินสมทบ แสดงข้อมูลปีล่าสุดในการนำส่งแต่ละเดือน โดยเงินประกันสังคมที่เราจ่ายไปนั้น จะถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน เงินช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย (1.5%) เงินช่วยเหลือเมื่อว่างงาน (0.5%) และเงินช่วยเหลือเมื่อเราชราภาพ (3%) เมื่ออายุครบ 55 ปี จะได้เงินช่วยเหลือชราภาพ ในกรณีที่จ่ายเกิด 12 เดือน ก็จะมีทั้งส่วนที่เราสมทบ นายจ้างสมทบ และรัฐบาลสมทบ

สิทธิประโยชน์ คุณสมบัติของผู้ประกันตน  ผู้ประกันตนมาตรา 33, ผู้ประกันตนมาตรา 39, ผู้ประกันตนมาตรา 40 โดยแต่ละอย่างมีลักษณะ คุณสมบัติแตกต่างกันออกไป

รวมแล้วเราจ่ายประกันสังคมในส่วนกรณีชราภาพไปทั้งหมด 35,093 บาท แต่เราจะได้กลับคืนมา 84,218 บาท ต้องพยายามตรวจสอบในทุกครั้ง เพราะเมื่อเกิน 1 ปีไปแล้ว เงินจะถูกส่งเข้าไปเงินเงินกองกลางในทันที ไม่สามารถขอคืนได้ เข้าใจกันแบบนี้แล้ว อาจจะทำให้ช่วยบรรเทาการที่ว่า จ่าย 750 ทำไมอ่ะ เปลืองจัง กันได้ไม่มากก็น้อยนะคะ